spot_img
spot_imgspot_img
spot_imgspot_img
spot_imgspot_img
spot_imgspot_img

การควบคุมอันตรายจากสารเคมี ASSP/ANSI Z-10

กลยุทธ์ควบคุมอันตรายจากสารเคมี

6 มาตรการกำจัดสารเคมีอันตราย ตาม ASSP/ANSI Z-10 
ข้อแนะนำ

Chemical Hazard Control Strategies

การลำดับความสำคัญของการควบคุมตาม HOC อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้กลยุทธ์ Hierarchy of Controls (HOC) ตามลำดับต่อไปนี้

1. การกำจัด :

วิธีที่ดีที่สุดคือการกำจัดสารอันตรายในที่ทำงานหรือเปลี่ยนไม่ใช้สารอันตรายดังกล่าว

2. การทดแทน/แทนที่ :

การทดแทนเป็นการเปลี่ยนชนิดสารเคมีด้วยสารเคมีที่มีความเป็นอันตรายน้อยลง หรือหา สารเคมีอื่นที่ปลอดภัยกว่าเข้ามาใช้งาน

3. การควบคุมทางวิศวกรรม:

เป็นการออกแบบ หรือ ปรับเปลี่ยนกระบวนการที่ใช้สารเคมีอันตราย เพื่อลดการสัมผัสกับสารเคมีอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน

4. คำเตือน :

การเลือกใช้ฉลาก และ แสดงป้ายบรรจุภัณฑ์เพื่อเตือนพนักงาน

5. การควบคุมดูแลระบบ:

หลักสำคัญคือการพัฒนาพฤติกรรมคนทำงานให้ปฏิบัติงานตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง จัดให้มีนโยบาย และ กฎความปลอดภัยที่เป็นลายลักษณ์อักษรชัดเจน มีการควบคุมดูแล รวมถึงการจัดฝึกอบรมให้กับพนักงาน

6. อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (PPE):

การใช้ PPE ชุดป้องกันสารเคมีน่าจะเป็นตัวเลือกที่ใช้กันทั่วไปมากที่สุด สามารถทำได้โดยง่าย ประหยัด แต่สิ่งสำคัญที่ควรรู้คือการใช้ PPE นั้น แหล่งอันตรายจะไม่ถูกกำจัด หรือ ลดลงแต่อย่างใด และ มีประสิทธิภาพน้อยกว่าการควบคุมทางวิศวกรรม

เครดิต : hseblog

เกี่ยวกับลิขสิทธิ์ :
* สงวนลิขสิทธิ์ทุกเนื้อหา และ ภาพประกอบของ Jorportoday สามารถนำไปเผยแพร่ได้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ไม่ใช่เชิงพาณิชย์

** กรณีมีการคัดลอกบทความของเราไปส่วนใดส่วนหนึ่ง โปรดติดลิงค์กลับมาที่หน้านี้เพื่อให้เครดิตกับเรา

Similar Articles

Special advertising

spot_img

Special Ads

spot_img

Ads.1

spot_img

Ads.3

spot_img

Ads.4

spot_img
spot_img

Ads.5

spot_img

Most Popular